Subscribe:

วันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การเสริมรากไม้ผล


วัสดุ / อุปกรณ์
  1. มีดคัตเตอร์
  2. กรรไกรตัดแต่งกิ่ง
  3. เทปใส
  4. กิ่งไม้ที่เตรียมไว้ตอน

วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การปลูกผักหวานภูเขา

การปลูกผักหวานภูเขา

ผักหวานเป็นพืชที่เกิดขึ้นอยู่ในป่าเขาตามธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติทอดยอดตามฤดูกาล ลักษณะเด่นมีความทนทานต่อความแห้งแล้ง มีอายุยืน ผักหวานบางสายพันธุ์ยอดสีเขียว บางสายพันธุ์ยอดสีทอง มีรสชาติหวานมันเป็นพืชปลอดสารพิษ นำไปปรุงอาหารได้ การปลูกผักหวานสามารถขยายพันธุ์ได้โดยเมล็ด (เพาะเมล็ดต้นกล้า) การขุด รากและต้นและกิ่งตอน โดยผักหวานสามารถแบ่งเป็น 4 ประเภทดังนี้

การปลูกพืชผักในครัวเรือน

การปลูกพืชผักในครัวเรือน


ผักสวนครัว เป็นผักที่ปลูกไว้ในบริเวณบ้านหรือที่ว่างในชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกไว้บริโภคภายในครัวเรือนและทำให้ผู้ปลูกมีสุขภาพดีเนื่องจากได้รับประทานผักสดที่อุดมไปด้วยวิตามินและเกลือแร่ต่างๆ และมีความปลอดภัยจากสารเคมี และลดรายจ่ายในครัวเรือน

วันจันทร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การเสียบกิ่งมะนาวบนตอมะขวิด

การเสียบกิ่งมะนาวบนตอมะขวิด



วัสดุ/อุปกรณ์

  • มีดสำหรับติดตาหรือมีดคัตเตอร์
  • กรรไกรตัดแต่งกิ่ง
  • เชือกฟางหรือพลาสติกพันตา
  • ถุงพลาสติกใสขนาด 4x5 นิ้ว
  • กระดาษหนังสือพิมพ์หรือกระดาษเอ 4 ที่ใช้แล้ว
  • ลวดเย็บกระดาษ
  • ต้นตอมะขวิดที่มีลักษณะลำต้นแข็งแรง มีอายุประมาณ 1 ปี 6 เดือน
  • ยอดมะนาวหรือกิ่งมะนาวพันธ์ุดี

การปลูกพืชผักสวนครัว

การปลูกพืชผักสวนครัว


การปลูกพืชผักสวนครัวมีความสำคัญเป็นอันดับแรกของชีวิตประจำวันเพราะใช้เป็นอาหารในครัวเรือนได้ดี ถ้าปลูกมากมีเหลือจำหน่ายได้และสามารถยึดเป็นอาชีพได้

การปลูกพืชผักสวนครัวมีหลักปฏิบัติ 5 ประการได้แก่ การเลือกเมล็ดพันธุ์ การเตรียมดินการปลูก การดูแลรักษา การเก็บผลผลิตและการจำหน่ายโดยมีรายละเอียด ดังนี้

วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การทำนาข้าวไร้สารพิษ

การทำนาข้าวไร้สารพิษ



ขั้นที่ 1 ย่อยฟางและตอซังให้เป็นปุ๋ย

หลังการเก็บเก่ยี วอย่าเผาฟาง ตอซัง หรือหญ้า (เพราะจะเป็นการทำลายหน้าดินและจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในดิน) ปล่อยน้ำเข้านาให้ได้ระดับความลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร โดยใช้เอ็นไซม์ (ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ) หยดไปกับน้ำในอัตราไร่ละ 1 ลิตร ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 3-7 วัน เอ็นไซม์จะกระตุ้นจุลินทรีย์ในดินให้ทำการย่อยฟางให้สลายตัว สังเกตได้โดยเมื่อหยิบฟางขึ้นดูจะพบว่าฟางเปื่อยยุ่ยกลายเป็นปุ๋ยอย่างดี นอกจากนี้การหมักฟางยังให้ประโยชน์อีกหลายประการ คือ